1554 1828 1643 1624 1867 1253 1621 1109 1594 1347 1725 1348 1774 1447 1749 1909 1442 1281 1133 1386 1701 1226 1826 1707 1311 1851 1998 1516 1230 1837 1364 1281 1481 1890 1468 1615 1916 1489 1177 1160 1250 1524 1211 1019 1003 1420 1602 1172 1264 1698 1338 1901 1153 1995 1586 1819 1167 1084 1383 1819 1961 1754 1942 1645 1989 1939 1655 1580 1229 1139 1729 1651 1301 1274 1839 1070 1333 1361 1750 1481 1348 1063 1259 1812 1217 1302 1910 1843 1689 1895 1209 1327 1789 1817 1695 1275 1718 1046 1983 BCNSPRNW ULIB Ver.6.0+V

เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Marc Display : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
 ชื่อเรื่อง การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตแพทย์ในระดับปรีคลินิกของคณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจันทิมา ชัยมงคล
 ISBN 9746345184
 ผู้แต่ง จันทิมา ชัยมงคล
 พิมพลักษณ์ กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
 เลขเรียก (หาบนชั้น) วพ.W3 จ285ก
 รูปเล่ม 117 หน้า
 หมายเหตุ การผลิตแพทย์จะต้องมีการลงทุนที่สูง จึงมีความจำเป็นต้องมีการศึกษาต้นทุนในการผลิตบัณฑิตแพทย์ เพื่อประเมินศักยภาพและความต้องการของคณะแพทยศาสตร์ ในการวางแผนการผลิตเพิ่ม เพื่อรองรับความต้องการของประเทศในอนาคต ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนของการผลิตบัณฑิตแพทย์โครงการปกติ ในระดับปรีคลีนิก ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกร์มหาวิทยาลัยในปีงบประมาณ 2537 ในมุมมองของผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการการศึกษา โดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิที่ปรากฎหลักฐานที่แผนกบัญชีของคณะแพทยศาสตร์ทั้งนี้ได้มีการแบ่งหน่วยงานของคณะ ออกเป็น 4 หน่วยต้นทุนได้แก่ หน่วยงานบริการการศึกษา หน่วยงานสนับสนุนการศึกษาหน่วยงานวิชาการและหลักสูตรต่าง ๆ เมื่อได้ข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้เกณฑ์การกระจายข้อมูลแบบ Simultaneous equation method ผลการศึกษาพบว่าในการผลิตนิสิตแพทย์ระยะปรีคลีนิก ใช้ต้นทุนรวมตลอดระยะเวลา 3 ปีเป็นจำนวนเงิน 76,104,862.70 บาท คิดเป็นร้อยละ 29.5ของ การลงทุนของคณะแพทยศาสตร์แบ่งเป็นการลงทุนให้กับภายในคณะ67,356,519.69 บาท(88.5%) และลงทุนภายนอกคณะ 8,748,343.00 บาท(11.5%) โดยส่วนของต้นทุนภายในคณะเป็นต้นทุนค่าแรง 47,248,984.25 บาท(70.1%) ค่าลงทุน 11,162,196.06 บาท(16.6%) และค่าวัสดุ 8,942,769.90 บาท(13.3%) เมื่อแยกตามชั้นปีของระยะปรีคลีนิกแล้วพบว่าอัตราส่วนการลงทุนของชั้นปีที่ 1 10,393,103.40 บาท(13.7%) ชั้นปีที่ 2 27,550,049.60 บาท(36.2% บาท) และชั้นปีที่ 3 38,161,709.65 บาท (50.1%) โดยมีต้นทุนต่อหัวนิสิตตลอดระยะเวลา 3 ปี คิดเป็น 196,146.55 บาท/คน/ปี แยกตามชั้นปีที่ศึกษษพบว่ามีต้นทุนต่อหัวนิสิตชั้นปีที่ 1 คิดเป็น 71,67.57 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69 บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น381,617.10 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69 บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น 71,676.57 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น 381,617.10 บาท/คน/ปี เมื่อนำต้นทุนมาปรับด้วยอัตราการสูญเปล่าทางการศึกษา พบว่าต้นทุนที่ใช้ในการผลิตนิสิตแพทย์จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.14 ข้อมูลจากการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลสำหรับฝ่ายบริหารในการวางแผนเพื่อผลิตแพทย์เพิ่มต่อไปในอนาคต
 หัวเรื่อง การวิเคราะห์ต้นทุน--วิทยานิพนธ์
 หัวเรื่อง การผลิตแพทย์--วิทยานิพนธ์
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน

รายการสื่อสารสนเทศ

ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
วพ.W3 จ285ก  
  Barcode: 033631
ห้องสมุดวิทยาเขตสวรรค์ประชารักษ์
►วิจัย
บนชั้น

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: การวิเคราะห์ต้นทุ..


 Copyright 2025. Bcnsprnw @Library