1292 1820 1483 1851 1730 1389 1551 1749 1447 1828 1466 1357 1772 1223 1648 1909 1109 1940 1639 1464 1308 1553 1827 1644 1018 1733 1547 1329 1395 1212 1868 1983 1849 1569 1713 1855 1888 1882 1710 1988 1997 1214 1810 1864 1096 1247 1195 1941 1152 1531 1543 1888 1794 1144 1294 1233 1853 1835 1992 1867 1774 1052 1344 1013 1503 1362 1931 1477 1018 1228 1754 1603 1910 1268 1135 1989 1248 1878 1034 1087 1434 1584 1700 1088 1683 1029 1779 1042 1068 1589 1445 1111 1620 1284 1880 1191 1823 1678 1836 BCNSPRNW ULIB Ver.6.0+V

เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Marc Display : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
 ชื่อเรื่อง การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตแพทย์ในระดับปรีคลินิกของคณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจันทิมา ชัยมงคล
 ISBN 9746345184
 ผู้แต่ง จันทิมา ชัยมงคล
 พิมพลักษณ์ กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
 เลขเรียก (หาบนชั้น) วพ.W3 จ285ก
 รูปเล่ม 117 หน้า
 หมายเหตุ การผลิตแพทย์จะต้องมีการลงทุนที่สูง จึงมีความจำเป็นต้องมีการศึกษาต้นทุนในการผลิตบัณฑิตแพทย์ เพื่อประเมินศักยภาพและความต้องการของคณะแพทยศาสตร์ ในการวางแผนการผลิตเพิ่ม เพื่อรองรับความต้องการของประเทศในอนาคต ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนของการผลิตบัณฑิตแพทย์โครงการปกติ ในระดับปรีคลีนิก ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกร์มหาวิทยาลัยในปีงบประมาณ 2537 ในมุมมองของผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการการศึกษา โดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิที่ปรากฎหลักฐานที่แผนกบัญชีของคณะแพทยศาสตร์ทั้งนี้ได้มีการแบ่งหน่วยงานของคณะ ออกเป็น 4 หน่วยต้นทุนได้แก่ หน่วยงานบริการการศึกษา หน่วยงานสนับสนุนการศึกษาหน่วยงานวิชาการและหลักสูตรต่าง ๆ เมื่อได้ข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้เกณฑ์การกระจายข้อมูลแบบ Simultaneous equation method ผลการศึกษาพบว่าในการผลิตนิสิตแพทย์ระยะปรีคลีนิก ใช้ต้นทุนรวมตลอดระยะเวลา 3 ปีเป็นจำนวนเงิน 76,104,862.70 บาท คิดเป็นร้อยละ 29.5ของ การลงทุนของคณะแพทยศาสตร์แบ่งเป็นการลงทุนให้กับภายในคณะ67,356,519.69 บาท(88.5%) และลงทุนภายนอกคณะ 8,748,343.00 บาท(11.5%) โดยส่วนของต้นทุนภายในคณะเป็นต้นทุนค่าแรง 47,248,984.25 บาท(70.1%) ค่าลงทุน 11,162,196.06 บาท(16.6%) และค่าวัสดุ 8,942,769.90 บาท(13.3%) เมื่อแยกตามชั้นปีของระยะปรีคลีนิกแล้วพบว่าอัตราส่วนการลงทุนของชั้นปีที่ 1 10,393,103.40 บาท(13.7%) ชั้นปีที่ 2 27,550,049.60 บาท(36.2% บาท) และชั้นปีที่ 3 38,161,709.65 บาท (50.1%) โดยมีต้นทุนต่อหัวนิสิตตลอดระยะเวลา 3 ปี คิดเป็น 196,146.55 บาท/คน/ปี แยกตามชั้นปีที่ศึกษษพบว่ามีต้นทุนต่อหัวนิสิตชั้นปีที่ 1 คิดเป็น 71,67.57 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69 บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น381,617.10 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69 บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น 71,676.57 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น 381,617.10 บาท/คน/ปี เมื่อนำต้นทุนมาปรับด้วยอัตราการสูญเปล่าทางการศึกษา พบว่าต้นทุนที่ใช้ในการผลิตนิสิตแพทย์จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.14 ข้อมูลจากการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลสำหรับฝ่ายบริหารในการวางแผนเพื่อผลิตแพทย์เพิ่มต่อไปในอนาคต
 หัวเรื่อง การวิเคราะห์ต้นทุน--วิทยานิพนธ์
 หัวเรื่อง การผลิตแพทย์--วิทยานิพนธ์
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน

รายการสื่อสารสนเทศ

ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
วพ.W3 จ285ก  
  Barcode: 033631
ห้องสมุดวิทยาเขตสวรรค์ประชารักษ์
►วิจัย
บนชั้น

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: การวิเคราะห์ต้นทุ..


 Copyright 2025. Bcnsprnw @Library