1374 1071 1377 1510 1306 1644 1288 1137 1048 1800 1597 1337 1210 1486 1301 1611 1606 1702 1325 1925 1289 1329 1108 1181 1752 1728 1946 1183 1925 1661 1309 1902 1955 1898 1816 1910 1392 1682 1705 1658 1844 1806 1450 1945 1658 1600 1878 1882 1105 1110 1603 1024 1260 1496 1570 1422 1540 1202 1216 1365 1753 1842 1467 1461 1504 1492 1593 1101 1223 1818 1751 1206 1467 1280 1556 1559 1611 1939 1124 1650 1972 1735 1659 1418 1433 1675 1475 1474 1290 1627 1400 1155 1586 1088 1493 1338 1880 1030 1909 BCNSPRNW ULIB Ver.6.0+V

เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Marc Display : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
 ชื่อเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบางประการการสนับสนุนทางสังคมกับการปรับตัวของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย =The relationship between selected factors, social support and adaptation of myocardial infaction patients /กุลธิดา พานิชกุล
 ISBN 9745876135
 ผู้แต่ง กุลธิดา พานิชกุล
 ชื่อเรื่องที่แตกต่าง Relationship between selected factors, social support and adaptation of myocardial infaction patients
 พิมพลักษณ์ 2536
 เลขเรียก (หาบนชั้น) วพ.WG280 ก726ค
 รูปเล่ม ก-ฏ, 143 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
 หมายเหตุ ทุน CMB คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
 หมายเหตุ Send to Single Search
 หมายเหตุ วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (พยาบาลศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2536
 หมายเหตุ Summary: โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย เป็นโรคเรื้อรัง ที่ต้องได้รับ การรักษา อย่างต่อเนื่อง และจำนวนผู้ป่วย มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละปี การเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกาย ได้แก่ ความสามารถ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลง อาการเจ็บหน้าอก และความกลัว ต่อการเสียชีวิต แบบทันทีทันใด
 หมายเหตุ Summary: 1. เครือข่ายทางสังคม ที่ให้การสนับสนุน ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ส่วนใหญ่ ได้แก่คู่สมรส และบุตร, มีระยะเวลา ในการติดต่อกัน มากกว่า 20 ปีขึ้นไป, มีความถี่ ในการติดต่อ มากกว่า 30 ครั้งขึ้นไป ภายในระยะเวลา3 เดือน และวิธีที่ใช้ ในการติดต่อ มากที่สุดคือ การพบปะ 2. การสนับสนุน ทางสังคม ของผู้ป่วยส่วนใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง3. การสนับสนุน ทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r equals .64) ระยะเวลา ที่ได้รับการศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ( r equals .39) 5. ระยะเวลา ที่เป็นโรคมีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r equals .19) 6. รายได้ของครอบครัว เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r equals .18) 7. อายุและสถานภาพสมรส มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัว
 หัวเรื่อง มหาวิทยาลัยมหิดล--วิทยานิพนธ์
 หัวเรื่อง มหาวิทยาลัยมหิดล. --คณะพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์
 หัวเรื่อง กล้ามเนื้อหัวใจตาย
 หัวเรื่อง กล้ามเนื้อหัวใจตาย--การรักษา
 หัวเรื่อง การปรับตัว
 หัวเรื่อง การปรับตัวทางสรีรภาพ
 หัวเรื่อง การดูแลภายหลังการรักษา
 หัวเรื่อง การปรับตัวทางจิต
 หัวเรื่อง การสนับสนุนทางสังคม
 ผู้แต่งร่วม ทัศนา บุญทอง, ที่ปรึกษา
 ผู้แต่งร่วม เสาวลักษณ์ เล็กอุทัย, ที่ปรึกษา
 ผู้แต่งร่วม วรรณี สัตยวิวัฒน์, ที่ปรึกษา
 ผู้แต่งนิติบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล
 ผู้แต่งนิติบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
 ผู้แต่งนิติบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธ์
 ผู้แต่งนิติบุคคล Mahidol University. Thesis
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน

รายการสื่อสารสนเทศ

ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
วพ.WG280 ก726ค ฉ.1 
  Barcode: 023357
ห้องสมุดวิทยาเขตสวรรค์ประชารักษ์
► วิทยานิพนธ์
บนชั้น

รายการใกล้เคียง
    หัวเรื่อง [กล้ามเนื้อหัวใจตาย]
    หัวเรื่อง [การปรับตัว]
    หัวเรื่อง [การปรับตัวทางสรีรภาพ]
    หัวเรื่อง [การดูแลภายหลังการรักษา]
    หัวเรื่อง [การปรับตัวทางจิต]
    หัวเรื่อง [การสนับสนุนทางสังคม]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ความสัมพันธ์ระหว..


 Copyright 2024. Bcnsprnw @Library