1279 1607 1796 1070 1743 1595 1309 1844 1179 1044 1654 1851 1611 1467 1220 1971 1331 1284 1913 1983 1984 1574 1728 1345 1605 1484 1630 1826 1066 1499 1526 1787 1047 1984 1425 1616 1543 1702 1607 1179 1435 1471 1998 1306 1589 1351 1276 1972 1207 1284 1922 1041 1090 1737 1790 1910 1578 1290 1677 1639 1402 1381 1127 1002 1308 1968 1187 1695 1753 1976 1347 1767 1267 1501 1653 1210 1130 1734 1944 1594 1022 1482 1571 1488 1609 1866 1350 1882 1688 1561 1523 1397 1362 1912 1867 1559 1067 1099 1218 BCNSPRNW ULIB Ver.6.0+V

เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code < ปิดหน้าต่าง
LEADER : 00000nam 2200000uu 4500
001    13399122404
003     ULIB
008    130328s2539||||th 000 0 tha d
020    9746345184
099    วพ.W3^bจ285ก
100 0  จันทิมา ชัยมงคล
245 00 การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตแพทย์ในระดับปรีคลินิกของคณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย^cจันทิมา ชัยมงคล
260    กรุงเทพฯ:^bวิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,^c2539
300    117 หน้า
502    การผลิตแพทย์จะต้องมีการลงทุนที่สูง จึงมีความจำเป็นต้องมีการศึกษาต้นทุนในการผลิตบัณฑิตแพทย์ เพื่อประเมินศักยภาพและความต้องการของคณะแพทยศาสตร์ ในการวางแผนการผลิตเพิ่ม เพื่อรองรับความต้องการของประเทศในอนาคต ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนของการผลิตบัณฑิตแพทย์โครงการปกติ ในระดับปรีคลีนิก ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกร์มหาวิทยาลัยในปีงบประมาณ 2537 ในมุมมองของผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการการศึกษา โดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิที่ปรากฎหลักฐานที่แผนกบัญชีของคณะแพทยศาสตร์ทั้งนี้ได้มีการแบ่งหน่วยงานของคณะ ออกเป็น 4 หน่วยต้นทุนได้แก่ หน่วยงานบริการการศึกษา หน่วยงานสนับสนุนการศึกษาหน่วยงานวิชาการและหลักสูตรต่าง ๆ เมื่อได้ข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้เกณฑ์การกระจายข้อมูลแบบ Simultaneous equation method ผลการศึกษาพบว่าในการผลิตนิสิตแพทย์ระยะปรีคลีนิก ใช้ต้นทุนรวมตลอดระยะเวลา 3 ปีเป็นจำนวนเงิน 76,104,862.70 บาท คิดเป็นร้อยละ 29.5ของ การลงทุนของคณะแพทยศาสตร์แบ่งเป็นการลงทุนให้กับภายในคณะ67,356,519.69 บาท(88.5%) และลงทุนภายนอกคณะ 8,748,343.00 บาท(11.5%) โดยส่วนของต้นทุนภายในคณะเป็นต้นทุนค่าแรง 47,248,984.25 บาท(70.1%) ค่าลงทุน 11,162,196.06 บาท(16.6%) และค่าวัสดุ 8,942,769.90 บาท(13.3%) เมื่อแยกตามชั้นปีของระยะปรีคลีนิกแล้วพบว่าอัตราส่วนการลงทุนของชั้นปีที่ 1 10,393,103.40 บาท(13.7%) ชั้นปีที่ 2 27,550,049.60 บาท(36.2% บาท) และชั้นปีที่ 3 38,161,709.65 บาท (50.1%) โดยมีต้นทุนต่อหัวนิสิตตลอดระยะเวลา 3 ปี คิดเป็น 196,146.55 บาท/คน/ปี แยกตามชั้นปีที่ศึกษษพบว่ามีต้นทุนต่อหัวนิสิตชั้นปีที่ 1 คิดเป็น 71,67.57 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69 บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น381,617.10 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69 บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น 71,676.57 บาท/คน/ปี ชั้นปีที่ 2 คิดเป็น 192,657.69บาท/คน/ปี และชั้นปีที่ 3 คิดเป็น 381,617.10 บาท/คน/ปี เมื่อนำต้นทุนมาปรับด้วยอัตราการสูญเปล่าทางการศึกษา พบว่าต้นทุนที่ใช้ในการผลิตนิสิตแพทย์จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.14 ข้อมูลจากการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลสำหรับฝ่ายบริหารในการวางแผนเพื่อผลิตแพทย์เพิ่มต่อไปในอนาคต
650  4 การวิเคราะห์ต้นทุน^xวิทยานิพนธ์
650  4 การผลิตแพทย์^xวิทยานิพนธ์
945    ^p0^l0^i033631
999    ^aเกษร โพธิ์สุวรรณ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน

รายการสื่อสารสนเทศ

ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
วพ.W3 จ285ก  
  Barcode: 033631
ห้องสมุดวิทยาเขตสวรรค์ประชารักษ์
►วิจัย
บนชั้น

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: การวิเคราะห์ต้นทุ..


 Copyright 2025. Bcnsprnw @Library